วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556
จรรยาบรรณของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เราเตอร์(Router)
Router คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอย่างหนึ่ง ซึ่งถ้าแปลความหมายคำว่า Route ก็คือ ถนน นั่นเอง ดังนั้น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วย Router ทำให้เราสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ได้มากกว่าหนึ่งเครื่องในเวลาเดียวกัน ซึ่ง Router นั้นจะมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการควบคุมการทำงานเรียกว่า Internetwork Operating System (IOS) และตัว Router จะมีช่องที่ใช้เสียบต่อสายสัญญาณเรียกว่า Port LAN ซึ่งโดยทั่วไปมักมี 4 Ports หรือมากกว่า ใน Router 1 ตัว
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
สแกนเนอร ์ (Scanner)
สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์ ซึ่ง จับ ภาพ และ เปลี่ยน แปลง ภาพ จาก รูป แบบ ของ แอ นา ลอก เป็นดิจิตอลซึ่ง คอมพิวเตอ ร ์ สามารถ แสดง , เรียบ เรียง , เก็บ รักษา และ ผลิต ออก มา ได้ ภาพ นั้น อาจ จะ เป็น รูป ถ่าย , ข้อ ความ , ภาพ วาด หรือ แม้ แต่ วัตถุ สาม มิติ สามารถ ใช้สแกนเนอร์ทำ งาน ต่างๆได้ ดัง นี้
- ใน งาน เกี่ยวกับงาน ศิลปะ หรือ ภาพ ถ่าย ใน เอก สาร
- บัน ทึก ข้อ มูล ลง ใน เวิร์ด โปรเซสเซอร์
- แฟ็กเอก สาร ภาย ใต้ ดาต้าเบส และ เวิร์ด โปรเซสเซอร์
- เพิ่ม เติม ภาพ และ จินตนาการ ต่าง ๆ ลง ไป ใน ผลิต ภัณฑ์ สื่อ โฆษณา ต่าง ๆ
ชนิด ของเครื่องสแกนเนอร์
- Flatbed scanners บางทีเรียกว่า สแกนเนอร์แบบตั้งโต๊ะ เป็นสแกนเนอร์ที่นิยมใช้กันมากที่สุด ในบทความนี้ เราจะอธิบายถึงเทคโนโลยีของสแกนเนอร์แบบตั้งโต๊ะเท่านั้น
- Sheet - fed scanners เหมือนกับสแกนเนอร์แบบตั้งโต๊ะ เพียงแต่มีอุปกรณ์ป้อนกระดาษเพิ่มขึ้น
- Handheld - scanners เป็นเทคโนโลยีแบบเดียวกันกับสแกนเนอร์แบบตั้งโต๊ะ ออกแบบให้มีขนาดเล็ก ใช้มือสแกนแทนมอเตอร์ ความละเอียดสู้แบบตั้งโต๊ะไม่ได้ การใช้ค่อนข้างสะดวกและสามารถพกพาใส่กระเป๋าได้
- Drum - scanners เป็นสแกนเนอร์ขนาดใหญ่ ใช้ในงานพิมพ์ที่ต้องการความละเอียดสูง เทคโนโลยีที่ใช้คือ หลอดโฟโต้มัลติไพเออร์ (Photomultipliers) ย่อเป็นหลอด PMT เอกสารที่ต้องการสแกนจะนำไปม้วนติดกับหลอดแก้ว ภายในหลอดแก้ว มีแหล่งกำเนิดแสงส่องไปที่เอกสาร และสะท้อนออกมาเป็นลำแสง 3 ลำ แสงแต่ละลำผ่านฟิลเตอร์ 3 สี เพื่อเข้าสู่หลอดมัลติไพเออร์ เพื่อเปลี่ยนพลังงานของแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า
ประโยชน์ของสแกนเนอร์ที่มีต่อองค์กรธุรกิจ
- เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยก่อให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพ สะดวกรวดเร็วต่อองค์กร
- ช่วยลดต้นทุนและประหยัดค่าใช้จ่ายต่อการดำเนินงาน
- ช่วยให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ใช้งานได้ง่ายต่อการดำเนินงาน
- สามารถได้งานที่ต้องการได้ตามเป้าหมายที่ต้องการไว้
-สามารถเก็บภาพไว้ได้นาน โดยที่ภาพยังคงคุณภาพเช่นเดียวกับต้นฉบับเดิมเสมอ
-สามารถได้ภาพตามความต้องการที่องค์กรคาดหวังไว้ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556
รอม (Rom)
รอม คือหน่วยความจำชนิดหนึ่ง ที่มีโปรแกรม หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนำมาต่อกับ ไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรง ซึ่งโปรแกรม หรือข้อมูลนั้นจะไม่สูญหายไป
แม้ว่าจะไม่มีการจ่ายไฟเลี้ยงให้แก่ระบบ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ROM จะสามารถอ่านออกมาได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูลเข้าไปได้ เว้นแต่จะใช้วิธีการพิเศษซึ่งขึ้นกับชนิดของ ROM
ชนิดของROM
- Manual ROM
ROM (READ-ONLY MEMORY)
ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ใน ROM จะถูกโปรแกรม โดยผู้ผลิต (โปรแกรม มาจากโรงงาน) เราจะใช้ ROM ชนิดนี้ เมื่อข้อมูลนั้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีความต้องการใช้งาน เป็นจำนวนมาก ผู้ใช้ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงข้อมูลภายใน ROM ได้
โดย ROM จะมีการใช้ technology ที่แตกต่างกันตัวอย่างเช่น BIPOLAR, CMOS, NMOS, PMOS
- PROM (Programmable ROM)
PROM (PROGRAMMABLE READ-ONLY MEMORY)
ข้อมูลที่ต้องการโปรแกรมจะถูกโปรแกรมโดยผู้ใช้เอง โดยป้อนพัลส์แรงดันสูง (HIGH VOLTAGE PULSED) ทำให้ METAL STRIPS หรือ POLYCRYSTALINE SILICON ที่อยู่ในตัว IC ขาดออกจากกัน ทำให้เกิดเป็นลอจิก “1” หรือ “0” ตามตำแหน่ง ที่กำหนดในหน่วยความจำนั้นๆ เมื่อ PROM ถูกโปรแกรมแล้ว ข้อมูลภายใน จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อีก หน่วยความจำชนิดนี้ จะใช้ในงานที่ใช้ความเร็วสูง ซึ่งความเร็วสูงกว่า หน่วยความจำ ที่โปรแกรมได้ชนิดอื่นๆ
- EPROM (Erasable Programmable ROM)
EPROM (ERASABLE PROGRAMMABLE READ-ONLY MEMORY)
ข้อมูลจะถูกโปรแกรม โดยผู้ใช้โดยการให้สัญญาณ ที่มีแรงดันสูง (HIGH VOLTAGE SIGNAL) ผ่านเข้าไปในตัว EPROM ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับที่ใช้ใน PROM แต่ข้อมูลที่อยู่ใน EPROM เปลี่ยนแปลงได้ โดยการลบข้อมูลเดิมที่อยู่ใน EPROM ออกก่อน แล้วค่อยโปรแกรมเข้าไปใหม่ การลบข้อมูลนี้ทำได้ด้วย การฉายแสง อุลตร้าไวโอเลตเข้าไปในตัว IC โดยผ่าน ทางกระจกใส ที่อยู่บนตัว IC เมื่อฉายแสง ครู่หนึ่ง (ประมาณ 5-10 นาที) ข้อมูลที่อยู่ภายใน ก็จะถูกลบทิ้ง ซึ่งช่วงเวลา ที่ฉายแสงนี้ สามารถดูได้จากข้อมูล ที่กำหนด (DATA SHEET) มากับตัว EPROM และ มีความเหมาะสม ที่จะใช้ เมื่องานของระบบ มีโอกาส ที่จะปรับปรุงแก้ไขข้อมูลใหม่
- EAROM (Electrically Alterable ROM)
EAROM (ELECTRICALLY ALTERABLE READ-ONLY MEMORY)
EAROM หรืออีกชื่อหนึ่งว่า EEPROM (ELECTRICAL ERASABLE EPROM) เนื่องจากมีการใช้ไฟฟ้าในการลบข้อมูลใน ROM เพื่อเขียนใหม่ ซึ่งใช้เวลาสั้นกว่าของ EPROM
การลบขึ้นอยู่กับพื้นฐานการใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกัน ดังนั้น EAROM (ELECTRICAL ALTERABLE ROM) จะอยู่บนพื้นฐานของเทคโนโลยีแบบ NMOS ข้อมูลจะถูกโปรแกรมโดยผู้ใช้เหมือนใน EPROM แต่สิ่งที่แตกต่างก็คือ ข้อมูลของ EAROM สามารถลบได้โดยทางไฟฟ้าไม่ใช่โดยการฉายแสงแบบ EPROM
ความแตกต่างของ EIS กับ GDSS
EIS ย่อมาจาก executive information system แปลว่า ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร
หมายถึง การนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก
ระบบข่าวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง (EIS) เป็นระบบข่าวสารที่มีความสำคัญต่อผู้บริหารองค์กร
ในเรื่องการพิจารณากำหนดนโยบาย วางแผนกลยุทธ์ขององค์กร ให้สามารถจัดการองค์กร ให้สามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายหรือแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบ GDSS
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (Group Decision Support Systems)
เหตุการณ์มากมายที่เกิดขึ้นกับองค์กร จำเป็นต้องอาศัยการตัดสินใจร่วมกันเป็นกลุ่มซึ่งการตัดสินใจของคณะบริหารในอดีตที่ผ่านมานั้น ต้องมีการนัดประชุม ณ สถานที่แห่งเดียวกัน และในเวลาเดียวกันเท่านั้น ซึ่งต้องสิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก อีกทั้งผลลัพธ์ของการประชุม ได้ไม่ดีเท่าที่ควร
เหตุการณ์มากมายที่เกิดขึ้นกับองค์กร จำเป็นต้องอาศัยการตัดสินใจร่วมกันเป็นกลุ่มซึ่งการตัดสินใจของคณะบริหารในอดีตที่ผ่านมานั้น ต้องมีการนัดประชุม ณ สถานที่แห่งเดียวกัน และในเวลาเดียวกันเท่านั้น ซึ่งต้องสิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก อีกทั้งผลลัพธ์ของการประชุม ได้ไม่ดีเท่าที่ควร
สรุปคือ EISคือระบบที่ใช้ในองค์กรใช้ในการกำหนดนโญบายวางกลยุทธ์และดำเนินการส่วน และ GDSS คือระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)